อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ Adolf Hitler
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เป็น นักการเมืองเยอรมนีสัญชาติออสเตรียโดยกำเนิด
- หัวหน้าพรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน ( พรรคนาซี )
- ฟือแรร์แห่งเยอรมนี หมายถึง "ผู้นำ" หรือ "ผู้ชี้แนะ" ชื่อพิเศษที่มุขมนตรีเยอรมนี
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ใช้เรียกตนเองหลังจากรัฐบัญญัติการมอบอำนาจ เมื่อวันที่
23 มีนาคม 1933
- ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง ค.ศ. 1933 ถึง 1945
- ทั่วโลกยกให้เขาเป็น จอมเผด็จการของนาซีเยอรมนี และ
- เป็นทหารผ่านศึกสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- ผู้นำในการต่อต้านยิว และ เข่นฆ่าขาวยิวนับล้าน
สมัยเขาเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้รับบำเน็จเป็น
- กางเขนเหล็กชั้นหนึ่ง Iron Cross First Class
- กางเขนเหล็กชั้นสอง Iron Cross Second Class
- เข็มบาดเจ็บ (Wound Badge)
อยู่ในกรมกองหนุนบาวาเรียที่ 16 ข่าวกรองไรช์ซเวร์
แต่หลังจากเขาเย้าครองอำนาจโดยเข้าร่วมพรรคกรรมกรเยอรมัน ซึ่งเป็นพรรค
ก่อนหน้าพรรคนาซี และได้เป็นหัวหน้าพรรคนาซีต่อมาได้เขาทำการก่อรัฐประหาร
กบฏโรงเบียร์ ในเมืองมิวนิก
* กบฏโรงเบียร์ เป็นความพยายามก่อการปฏิวัติอันล้มเหลวของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
หัวหน้าพรรคนาซี เจ้ากรมพลาธิการ (Generalquartiermeister) อีริช ลูเดนดอฟฟ์
และหัวหน้าคัมพฟ์บุนด์คนอื่น ๆ ฮิตเลอร์ถูกจำคุกเป็นเวลา 1 ปี ก็ได้ถูกปล่อยตัว
ออกมา
- เขามีคำพูดที่โดนใจวาทะศิลป์ที่ยอกเยี่ยม แรงโน้มน้าวจิตใจคนทำให้เขามี
เสน่ห์ดึงดูดโฆษณาชวนเชื่อ ได้เป็นอย่างดี
- หลังจากได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1933
เขาเปลี่ยนสาธารณรัฐไวมาร์เป็นจักรวรรดิไรช์ที่สาม รัฐเผด็จการ
พรรคการเมืองเดียว ภายใต้อุดมการณ์นาซี
- และเริ่มนำประเทศเข้าสู้สงคราม โดยทำให้ประชาชนเชื่อมั่นในความแข็งแกร่ง
และจะจัดระเบียบโลกใหม่ รวมถึงการรังเกียจชาวยิว
- โดยที่จะให้นาซีและเยอรมันเป็นผู้ครองยุโรป
- เขาทำให้โลกเข้าสู่สภาวะสงคราม ในที่สุดก็เกิดเป็นสงครามโลกครั้งที่ 2
- ช่วงแรกๆเขาสามารถทำสงครามได้ประสบผลสำเร็จในหลายๆสมรภูมิ แต่พอ
อเมริกาเริ่มเข้าสู่สงคราม
- และนาซีเองไม่สามารถเจาะไข่แดงบนเกาะอังกฤษได้ แล้วยังไปเปิดแนวรบ
ใหม่กับสหภาพโซเวียต ส่งผลให้เขาเสียเปรียบอย่างมาก
- หัวหน้าพรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน ( พรรคนาซี )
- ฟือแรร์แห่งเยอรมนี หมายถึง "ผู้นำ" หรือ "ผู้ชี้แนะ" ชื่อพิเศษที่มุขมนตรีเยอรมนี
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ใช้เรียกตนเองหลังจากรัฐบัญญัติการมอบอำนาจ เมื่อวันที่
23 มีนาคม 1933
- ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง ค.ศ. 1933 ถึง 1945
- ทั่วโลกยกให้เขาเป็น จอมเผด็จการของนาซีเยอรมนี และ
- เป็นทหารผ่านศึกสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- ผู้นำในการต่อต้านยิว และ เข่นฆ่าขาวยิวนับล้าน
สมัยเขาเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้รับบำเน็จเป็น
- กางเขนเหล็กชั้นหนึ่ง Iron Cross First Class
- กางเขนเหล็กชั้นสอง Iron Cross Second Class
- เข็มบาดเจ็บ (Wound Badge)
อยู่ในกรมกองหนุนบาวาเรียที่ 16 ข่าวกรองไรช์ซเวร์
แต่หลังจากเขาเย้าครองอำนาจโดยเข้าร่วมพรรคกรรมกรเยอรมัน ซึ่งเป็นพรรค
ก่อนหน้าพรรคนาซี และได้เป็นหัวหน้าพรรคนาซีต่อมาได้เขาทำการก่อรัฐประหาร
กบฏโรงเบียร์ ในเมืองมิวนิก
* กบฏโรงเบียร์ เป็นความพยายามก่อการปฏิวัติอันล้มเหลวของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
หัวหน้าพรรคนาซี เจ้ากรมพลาธิการ (Generalquartiermeister) อีริช ลูเดนดอฟฟ์
และหัวหน้าคัมพฟ์บุนด์คนอื่น ๆ ฮิตเลอร์ถูกจำคุกเป็นเวลา 1 ปี ก็ได้ถูกปล่อยตัว
ออกมา
- เขามีคำพูดที่โดนใจวาทะศิลป์ที่ยอกเยี่ยม แรงโน้มน้าวจิตใจคนทำให้เขามี
เสน่ห์ดึงดูดโฆษณาชวนเชื่อ ได้เป็นอย่างดี
- หลังจากได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1933
เขาเปลี่ยนสาธารณรัฐไวมาร์เป็นจักรวรรดิไรช์ที่สาม รัฐเผด็จการ
พรรคการเมืองเดียว ภายใต้อุดมการณ์นาซี
- และเริ่มนำประเทศเข้าสู้สงคราม โดยทำให้ประชาชนเชื่อมั่นในความแข็งแกร่ง
และจะจัดระเบียบโลกใหม่ รวมถึงการรังเกียจชาวยิว
- โดยที่จะให้นาซีและเยอรมันเป็นผู้ครองยุโรป
- เขาทำให้โลกเข้าสู่สภาวะสงคราม ในที่สุดก็เกิดเป็นสงครามโลกครั้งที่ 2
- ช่วงแรกๆเขาสามารถทำสงครามได้ประสบผลสำเร็จในหลายๆสมรภูมิ แต่พอ
อเมริกาเริ่มเข้าสู่สงคราม
- และนาซีเองไม่สามารถเจาะไข่แดงบนเกาะอังกฤษได้ แล้วยังไปเปิดแนวรบ
ใหม่กับสหภาพโซเวียต ส่งผลให้เขาเสียเปรียบอย่างมาก
- เคยมีข่าวว่าอยุ่ในแผนลอบสังการโดยนายพล เยอรมัน 1 ในนั้นคือ รอมเมล คนสนิทอีกด้วย
- ปลายสงคราม เมื่อเข้าตาจนและสู้ไม่ได้ เขาได้ทำอัตวินิบาตกรรม
(การฆ่าตัวตายนั่นเอง ) เมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1945
เยอรมันแพ้ สงครามและถูกแบ่งออกเป็น เยอรมันตะวันออก และเยอรมันตะวันตก
ด้วยกำแพงเบอร์ลิน
- ปลายสงคราม เมื่อเข้าตาจนและสู้ไม่ได้ เขาได้ทำอัตวินิบาตกรรม
(การฆ่าตัวตายนั่นเอง ) เมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1945
เยอรมันแพ้ สงครามและถูกแบ่งออกเป็น เยอรมันตะวันออก และเยอรมันตะวันตก
ด้วยกำแพงเบอร์ลิน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น