โยฮันน์ ฟรีดริช เกาส์ Johann Friedrich GauB
- นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2302
(ค.ศ. 1777)
- ได้รับการขนานนามว่า เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์ (Prince of Mathematics)
ปรมาจารย์ทางคณิตศาสตร์ เป็นบุคคลสำคัญนักคณิตศาสตร์ของโลก
ต่อจากพีทาโกรัส
- ตำนานนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์
- เหตุการณ์ที่สร้างความตกใจฉายแววของเขาคือ ตอนเกาส์อายุได้ 7 ขวบ
ครูของเขาสั่งให้นักเรียนบวกเลขตั้งแต่ 1 ถึง 100 ครูเพียงแค่หันหลังไป
เด็กชายเกาส์ก็ตอบขึ้นมาว่า 5,050 โดยใช้วธี 1+2+3+4+5+...+98+99+100
= 101+101+101+...+101 = 101?50 = 5,050
ดังนั้นคำตอบคือ 5,050 เขาใช้วิธีการ จับคู่เลขตัวแรกกับตัวสุดท้าย 1 + 100
= 101 และ 2+99 = 101 100 ตัวเลขก็จะมี 50 ชุด
เอา 50 ชุดนั้นมา เอา 50 x 101 ก็ได้เท่ากับ 5,050 นั่นเอง
- การสร้างรูป n เหลี่ยมด้านเท่าด้วยไม้บรรทัดและวงเวียน คือการสร้าง
รูป 17 เหลี่ยมด้านเท่าได้ด้วยเพียงวงเวียนและไม้บรรทัดเท่านั้นน่าตื่นเต้น
เพราะลากยาวไปเมื่อ 2 พันปีก่อน Euclid ผู้เป็นบิดาของวิชาเรขาคณิต
ได้เคยแสดงให้โลกเห็นว่า เขาสามารถสร้างรูป 3,4,5 และ 15 เหลี่ยม
ด้านเท่า โดยใช้ไม้บรรทัดและวงเวียนเท่านั้น และตลอดเวลาที่ผ่านมา
2 พันปีไม่มีใครเคยทำ17 เหลี่ยมด้านเท่าได้
- ทำนายวงโคจรของดาวเคราะห์น้อย ซีรีส
- ผลงานเกี่ยวกับทฤษฎีแม่เหล็กและไฟฟ้านอกจากนี้ยังค้นพบ กฎของเกาส์
ในสนามไฟฟ้า ซึ่งนำไปสู่ กฎของเคิร์ชฮอฟฟ์ (โดยรวมกับไดเวอร์เจนซ์ของ
กฎของแอมแปร์) ที่เป็นหนึ่งในกฎพื้นฐานที่สุดของวงจรไฟฟ้า
- วิธีกำลังสองต่ำสุด ความผิดพลาดในการวัด และการกระจายตัวแบบเกาส์
วิจัยเกี่ยวกับเรื่องการเคลื่อนไหวของวัตถุท้องฟ้า
- เรขาคณิตนอกแบบยุคลิด ซึ่งก็คล้ายๆที่ การปฏิวัติของโคเปอร์นิคัส หรือ
กาลิเลโอทำใน ดาราศาสตร์ เพราะอะไรที่อยู่นอกกฏของ ตำนานคนเก่า
มักถูกต่อต้านเรื่องคณิคศาสตร์ก็มียุคลิด เป็นคนคิดค้นไว้ เมื่อ 2พันปีก่อน
นักคณิตศาสตร์ยุคต่อมาก็จะอ้างอิงยุคลิดตลอด แต่เกาส์ก็สามารถ แสดง
ทฤษฎีบทเต็มรูปแบบของ เรขาคณิตนอกแบบยุคลิด ต่อสาธารณะได้สำเร็จ
- ผลงานฟังก์ชันเชิงวงรี เกาส์ยังได้ค้นพบทฤษฎีของ ฟังก์ชันเชิงวงรี (elliptic
functions) หลาย ๆ อย่าง ซึ่งสำคัญมากในสาขาคณิตวิเคราะห์
- เกาส์เสียชีวิต 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2398 (ค.ศ. 1855)ในเมืองเกิตติงเกนใน
ฮันโนเวอร์ (ปัจจุบันคือประเทศเยอรมนี)
- ตำนานนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์
- เหตุการณ์ที่สร้างความตกใจฉายแววของเขาคือ ตอนเกาส์อายุได้ 7 ขวบ
ครูของเขาสั่งให้นักเรียนบวกเลขตั้งแต่ 1 ถึง 100 ครูเพียงแค่หันหลังไป
เด็กชายเกาส์ก็ตอบขึ้นมาว่า 5,050 โดยใช้วธี 1+2+3+4+5+...+98+99+100
= 101+101+101+...+101 = 101?50 = 5,050
ดังนั้นคำตอบคือ 5,050 เขาใช้วิธีการ จับคู่เลขตัวแรกกับตัวสุดท้าย 1 + 100
= 101 และ 2+99 = 101 100 ตัวเลขก็จะมี 50 ชุด
เอา 50 ชุดนั้นมา เอา 50 x 101 ก็ได้เท่ากับ 5,050 นั่นเอง
- การสร้างรูป n เหลี่ยมด้านเท่าด้วยไม้บรรทัดและวงเวียน คือการสร้าง
รูป 17 เหลี่ยมด้านเท่าได้ด้วยเพียงวงเวียนและไม้บรรทัดเท่านั้นน่าตื่นเต้น
เพราะลากยาวไปเมื่อ 2 พันปีก่อน Euclid ผู้เป็นบิดาของวิชาเรขาคณิต
ได้เคยแสดงให้โลกเห็นว่า เขาสามารถสร้างรูป 3,4,5 และ 15 เหลี่ยม
ด้านเท่า โดยใช้ไม้บรรทัดและวงเวียนเท่านั้น และตลอดเวลาที่ผ่านมา
2 พันปีไม่มีใครเคยทำ17 เหลี่ยมด้านเท่าได้
- ทำนายวงโคจรของดาวเคราะห์น้อย ซีรีส
- ผลงานเกี่ยวกับทฤษฎีแม่เหล็กและไฟฟ้านอกจากนี้ยังค้นพบ กฎของเกาส์
ในสนามไฟฟ้า ซึ่งนำไปสู่ กฎของเคิร์ชฮอฟฟ์ (โดยรวมกับไดเวอร์เจนซ์ของ
กฎของแอมแปร์) ที่เป็นหนึ่งในกฎพื้นฐานที่สุดของวงจรไฟฟ้า
- วิธีกำลังสองต่ำสุด ความผิดพลาดในการวัด และการกระจายตัวแบบเกาส์
วิจัยเกี่ยวกับเรื่องการเคลื่อนไหวของวัตถุท้องฟ้า
- เรขาคณิตนอกแบบยุคลิด ซึ่งก็คล้ายๆที่ การปฏิวัติของโคเปอร์นิคัส หรือ
กาลิเลโอทำใน ดาราศาสตร์ เพราะอะไรที่อยู่นอกกฏของ ตำนานคนเก่า
มักถูกต่อต้านเรื่องคณิคศาสตร์ก็มียุคลิด เป็นคนคิดค้นไว้ เมื่อ 2พันปีก่อน
นักคณิตศาสตร์ยุคต่อมาก็จะอ้างอิงยุคลิดตลอด แต่เกาส์ก็สามารถ แสดง
ทฤษฎีบทเต็มรูปแบบของ เรขาคณิตนอกแบบยุคลิด ต่อสาธารณะได้สำเร็จ
- ผลงานฟังก์ชันเชิงวงรี เกาส์ยังได้ค้นพบทฤษฎีของ ฟังก์ชันเชิงวงรี (elliptic
functions) หลาย ๆ อย่าง ซึ่งสำคัญมากในสาขาคณิตวิเคราะห์
- เกาส์เสียชีวิต 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2398 (ค.ศ. 1855)ในเมืองเกิตติงเกนใน
ฮันโนเวอร์ (ปัจจุบันคือประเทศเยอรมนี)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น