หน้าเว็บ

วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2558

มารี คูรี Madam Marie Curie




 มารี คูรี Madam Marie Curie

เกิดวันที่ วันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ.1867 ที่เมืองวอร์ซอร์ (Warsaw) 

ประเทศโปแลนด์ (Poland)


- นักเคมีผู้ค้นพบรังสีเรเดียม คือธาตุที่มีเลขอะตอม 88 และสัญลักษณ์คือ Ra

  เรเดียมเป็นธาตุโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท ในธรรมชาติพบอยู่กับแร่ยูเรเนียม เรเดียม

  เป็นธาตุกัมมันตรังสีชนิดเข้มข้น


- พบรังสีเรเดียม ที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถ

  รักษาให้หายขาดได้


-  เรเดียมยังสามารถรักษาโรคผิวหนังบางชนิดได้ และเนื้องอกได้อีกด้วย


- การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี 


- พอโลเนียม เป็นธาตุกึ่งอโลหะเรดิโอแอคตีฟ (radioactive metalloid)พบว่ามีอยู่

  ในแร่ยูเรเนียม กำลังศึกษาการใช้งานเกี่ยวกับความร้อนในยานอวกาศ ค้นพบ

  โดยมารี คูรี ในปี 1898


ได้รับรางวัล 


- Nobel Prize in Physics (1903) รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ จากผลงานการพบ

  ธาตุเรเดียม


- Davy Medal (1903) เหรียญเดวี จากผลการค้นพบว่าเรเดียมสามารถรักษา

  โรคผิวหนังและโรคมะเร็งได้ 


- Matteucci Medal (1904) เหรียญมัตเตอุชชี


- Elliott Cresson Medal (1909)


- Albert Medal (1910)


- Nobel Prize in Chemistry (1911) รางวัลโนเบลสาขาเคมี  จากผลงานการ

  ค้นคว้าหาประโยชน์จากธาตุเรเดียม


- Willard Gibbs Award (1921)


- เสียชีวิตจาก ผลกระทบจากกัมมันตภาพรังสีของเรเดียม ทำให้ไขกระดูกเธอ

  ถูกทำลาย ทำให้เสียชีวิตในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ.1934


เป็นบุคคลสำคัญของโลกอีกคนนึงในการค้นพบที่สำคัญข้างต้น 

เป็นคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบล ใน สองสาขาด้านวิทยาศาสตร์ เป็นภรรยาของ

ปีแอร์ กูว์รี และเป็นแม่ของอีแรน ฌอลีโย-กูว์รี และแอฟว์ กูว์รี


ปีแอร์ กูว์รี นักเคมีชาวโปแลนด์ ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์เมื่อ ค.ศ. 1903

อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เธอเป็นลูกสาวของมารี กูว์รี 

และปีแอร์ กูว์รี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับสามีของเธอจากการค้นพบ

กัมมันตรังสีเหนี่ยวนำทำให้ครอบครัวกูว์รีเป็นครอบครัวที่มีผู้ได้รับรางวัลโนเบล

มากที่สุดในขณะนั้น




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น